5 สิ่งจำเป็น รายการสำหรับ โต๊ะทำงานกลุ่ม 2ที่นั่ง
Wiki Article
รายละเอียด นิยาย และ โต๊ะทำงานกลุ่ม 2ที่นั่ง
โต๊ะทำงานกลุ่ม 2ที่นั่งหลายคนคงเคยได้ยินคำว่า “ออฟฟิศซินโดรม” กันอยู่บ่อยๆ ในปัจจุบัน เพราะไลฟ์สไตล์การทำงานที่เปลี่ยนไป จากการทำงานกลางแจ้ง มาเป็นการทำงานในออฟฟิศ หรือทำงานนั่งโต๊ะกันมากขึ้น ไปจนถึงเทรนด์การทำงานที่บ้าน หรือ Work From Home ที่ทำให้เกิดกลุ่มโรคที่เรียกว่า ออฟฟิศซินโดรม ได้มากขึ้นตามไปด้วย หลายๆ คนเข้าใจว่า
โรคออฟฟิศซินโดรม เกิดขึ้นได้เฉพาะกับคนทำงานออฟฟิศ แต่ในความเป็นจริง สามารถพบได้ในคนทุกเพศทุกวัย ที่มีการใช้งานกล้ามเนื้อ เส้นเอ็นเดิมๆ ซ้ำๆ เป็นระยะเวลานาน ในปัจจุบันเราจะพบโรคกลุ่มออฟฟิศซินโดรมได้ในเด็กๆ ที่เรียนหนังสือผ่านออนไลน์กันมากขึ้น หรือแม้แต่ในผู้สูงอายุ ที่ปัจจุบันก็มีการเล่นสมาร์ทโฟน ส่งไลน์สวัสดีวันจันทร์ แชร์ข่าวในเฟสบุ๊คกันมากขึ้นด้วยเช่นกัน สำหรับวัยเรียนที่อายุยังน้อย ก็อาจพบอาการ ออฟฟิศซินโดรม ได้ เนื่องจากเด็กๆ สมัยนี้เริ่มใช้งานอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์กันเร็ว ทำให้มีการใช้งานซ้ำๆ ในท่าเดิมบ่อยครั้ง ซึ่งในความเป็นจริง ธรรมชาติของเด็กนั้น เราต้องการให้มีการวิ่งเล่นออกกำลังกายมากๆ เพื่อช่วยกระตุ้นการเจริญเติบโตของกระดูก กล้ามเนื้อ และโครงสร้างต่างๆ ทำให้ระบบกระดูก กล้ามเนื้อ สามารถโตและแข็งแรงขึ้นพร้อมรับการใช้งานในวัยผู้ใหญ่ ดังนั้น ผู้ปกครองควรจะกระตุ้นให้เด็กได้วิ่งเล่นอย่างเต็มที่ นอกจากช่วยกระตุ้นพัฒนาการและการเจริญเติบโตด้านต่างๆ แล้ว ยังช่วยลดเวลาเด็กๆ จากหน้าจอต่างๆ ได้ ลดโอกาสเกิดอาการออฟฟิศซินโดรมได้ด้วยเช่นกัน เนื่องจากเป็นวัยที่มีกิจกรรมเกี่ยวข้องโดยตรง ที่จะต้องทำงานในท่าเดิมซ้ำๆ ทำให้เป็นวัยที่พบปัญหาออฟฟิศซินโดรมได้บ่อยที่สุด และหลีกเลี่ยงสาเหตุได้ค่อนข้างยาก เพราะก็ยังคงต้องกลับมาทำงานซ้ำแบบเดิมอีก ดังนั้นจึงเป็นกลุ่มที่ต้องให้ความสำคัญกับการรักษาที่ผสมผสานหลายๆ วิธีเข้าด้วยกัน เช่น ต้องแก้ทั้งท่านั่ง ท่าทางที่ผิด และหลังการรักษาอาการปวดเฉียบพลัน เมื่ออาการดีขึ้นแล้ว ก็ต้องออกกำลังกายทั้งการยืดเหยียด และการออกกำลังกายเพื่อสร้างความแข็งแรงให้กลุ่มกล้ามเนื้อหลักที่ใช้ในการทำงานอย่างสม่ำเสมอ เพื่อลดโอกาสการกลับมาเป็นใหม่ หรือให้กลับมาเป็นใหม่ช้าที่สุด ปัญหาของผู้สูงวัยโดยปกติ กระดูก ข้อ และเส้นเอ็นต่างๆ ในร่างกายเริ่มถดถอย เสื่อมสภาพ ถึงแม้ว่าอาจจะไม่ได้ใช้งานร่างกายหนักเท่าช่วงที่อยู่ในวัยทำงาน แต่ผลจากการเสื่อมสภาพของกระดูก ข้อ และการเล็กลงของมวลกล้ามเนื้อ ก็ส่งผลให้การใช้งานที่แม้ว่าไม่หนักมากก็อาจจะเกิดปัญหาได้เช่นกัน ดังน้ันก็ต้องเน้นการออกกำลังกายโดยเฉพาะ เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อเช่นกันในระยะยาว และหลีกเลี่ยงการนั่งทำงานนานๆ หรือการทำอะไรซ้ำๆ นานๆ ด้วยเช่นกัน อย่างที่ทราบกันแล้วว่าออฟฟิศซินโดรม เกิดจากการที่เราอยู่ในท่าทางที่ไม่ถูกต้อง ในระยะเวลาที่ยาวนานจนเกินไป ใช้งานอวัยวะต่างๆ มากเกินไป จนทำให้เกิดอาการได้ตั้งแต่ ปวดหัว ปวดคอ ปวดตา ปวดบ่า ปวดไหล่ ปวดข้อศอก ปวดข้อมือ
ปวดหลังปวดสะโพก หรือกระทั่งมือชา เนื่องมาจากมี
พังผืดที่ข้อมือ. โต๊ะทำงานกลุ่มจากการใช้งานบ่อยๆ เพราะฉะนั้นการรักษาออฟฟิศซินโดรม จึงต้องใช้วิธีการหลากหลายที่ส่งผลแตกต่างกันไป ทั้งการรักษาโดยการยืดคลายกล้ามเนื้อ การรักษาโดยการใช้อุปกรณ์ทางกายภาพต่างๆ โดยนักกายภาพ เช่น เครื่องอัลตร้าซาวด์ร่วมกับกระแสไฟฟ้า เป็นต้น เพื่อลดอาการปวดเฉียบพลันที่เกิดขึ้น ไปจนถึงการออกกำลังกายเพื่อสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ป้องกันการกลับมาเป็นใหม่ในระยะยาว การวิเคราะห์ท่าทาง (Postural assessment ) การให้คำแนะนำเกี่ยวกับกายรศาสตร์ ( Ergonomic Education) การใช้อุปกรณ์เสริมที่ช่วยเรื่องกายรศาสตร์ ( Ergonomic Device)การปรับท่านั่งให้ถูกต้องตามหลักกายรศาสตร์ การให้การรักษาโดยแพทย์ฟื้นฟูการทำกายภาพบำบัดโดยนักกายภาพบำบัดการออกกำลังกายด้วย Active Rehabilitation เนื่องจากการอยู่ในท่าทางที่ผิดเป็นระยะเวลายาวนาน เป็นสาเหตุสำคัญของการเกิด ออฟฟิศซินโดรม ดังนั้นอาจจะต้องมีการวิเคราะห์ท่าทางของคนไข้ร่วมด้วย เพื่อแก้ไขท่าทางให้ถูกต้องโดยเฉพาะผู้ป่วยบางรายที่มีอาการค่อนข้างเรื้อรังการยืน การลงน้ำหนัก ท่านั่ง ล้วนเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อท่าทางที่ทำให้เกิดออฟฟิศซินโดรม โดยบางครั้งคนไข้เองอาจนึกไม่ถึง คือการแนะนำท่าทางที่เหมาะสม และถูกต้องขณะทำงาน รวมทั้งท่าทางที่เหมาะสม กับการลุกขึ้นจากเก้าอี้ ลุกจากเตียง หรือยกของหนัก อุปกรณ์เสริมเพื่อช่วยให้ท่าทางในการทำงานถูกต้องเหมาะสมมากยิ่งขึ้น เช่นการใช้ Laptop Riser เพื่อช่วยคอมพิวเตอร์ Lap topให้สูงขึ้นมาอยู่ในระดับสายตาช่วยให้ไม่ต้องก้มคอลงไปดูจอ เมาส์ชนิดพิเศษที่ออกแบบมาเพื่อช่วยให้ข้อมืออยู่ในท่าตรงขณะใช้งาน ช่วยทำให้ไม่ต้องกระดกข้อมือขึ้นลงบ่อยครั้ง ที่รองข้อมือขณะพิมพ์งานเป็นระยะเวลานาน เพื่อป้องกันการเมื่อยล้าของกล้ามเนื้อปลายแขน และช่วยให้ข้อมืออยู่ในท่าตรงลดแรงกดต่อเส้นประสาทในข้อมือคีย์บอร์ดที่มีความยาวเหมาะสม เพื่อไม่ให้ข้อมือบิดงอระหว่างการพิมพ์โต๊ะที่เลื่อนความสูงขึ้นลงได้ เพื่อปรับให้เหมาะสมกับร่างกายของแต่ละคนที่แตกต่างกันไป ท่านั่ง เป็นท่าที่ใช้ในการทำงานหน้าคอมพิวเตอร์สูงที่สุด การปรับให้ถูกต้องตามหลักกายรศาสตร์จะช่วยลดอาการบาดเจ็บลงได้การนั่ง ส่งผลต่อแรงกดของน้ำหนักร่างกายลงบนหมอนรองกระดูกสันหลังมากกว่าท่ายืน ระหว่างทำงานจึงควรนั่งตัวตรง หลังไม่ค่อม ไหล่ไม่ห่อ คอตรง หน้าไม่ยื่นปรับสภาพแวดล้อมบนโต๊ะทำงานให้เหมาะสม การรักษาด้วยยา ได้แก่ การใช้ยาเพื่อรักษาอาการ เช่น ยาคลายกล้ามเนื้อ ยาแก้ปวดชนิดต่างๆ เป็นต้น การฝังเข็มแบบตะวันตก จะเป็นการฝังเข็มไปยังจุดที่กล้ามเนื้อเกร็งตัวโดยตรง ทำให้ช่วยลดความตึงตัวและ ความไวของปลายประสาทที่มาเลี้ยงกล้ามเนื้อบริเวณดังกล่าว ช่วยในคนที่มีจุดกดเจ็บชัดเจนให้สามารถลดอาการปวดได้ไว ผู้ป่วยอาจจะมีอาการเจ็บระบมหลังการฝังได้ แต่มักจะหายได้เองในระยะเวลา 1-2 วันการใช้เครื่องมือทางกายภาพแบบใหม่ เช่น เป็นการรักษาโดยใช้คลื่นกระแทกเพื่อกระตุ้นบริเวณที่บาดเจ็บให้มีการเร่งการซ่อมแซม ช่วยลดการอักเสบ ลดการปวดและรักษาฟื้นฟูเนื้อเยื่อได้ อย่างไรก็ตามการรักษาวิธีนี้ ขณะทำการรักษาจะมีอาการเจ็บจากคลื่นกระแทกได้ จะช่วยลดการอักเสบ และอาการปวดบริเวณตำแหน่งที่ปวดได้ และขณะให้การรักษาก็จะไม่มีอาการเจ็บบริเวณตำแหน่งที่ทำการรักษาด้วย จึงมักจะใช้ในระยะเฉียบพลันที่อาจจะมีอาการปวดค่อนข้างมาก การรักษาด้วยเครื่องมือทั้ง 2 ชนิด จะมีข้อห้าม และข้อควรระวังที่แตกต่างกัน ดังนั้นการจะรักษาด้วยวิธีการใด ใช้ระยะเวลาไหร่ จึงจำเป็นต้องปรึกษาแพทย์เวชศาสตร์ฟื้นฟูเป็นรายๆ ไป นักกายภาพบำบัดจะทำการประเมินและให้การรักษาด้วยเครื่องมือกายภาพต่างๆ เครื่องอัลตราซาวด์ เครื่องกระตุ้นไฟฟ้า เป็นต้น เครื่องมือทางกายภาพจะช่วยลดอาการปวด และอาการตึงตัวของกล้ามเนื้อได้ดี ควรทำกายภาพบำบัด ร่วมกับการทำ Manual Treatment ต่างๆ เช่น การยืด การดัด และสอนท่าออกกำลังกายเบื้องต้น คือการออกกำลังกายเพื่อสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่สำคัญ เช่น กล้ามเนื้อก้มคอชั้นลึก กล้ามเนื้อปลายแขน เป็นต้น การที่กล้ามเนื้อแข็งแรง จะทำให้เราทนทานต่อการนั่ง หรือทำงานต่อเนื่องยาวนานได้มากขึ้น อย่างไรก็ตาม การรักษาออฟฟิศซินโดรมให้ประสบความสำเร็จ มักจะต้องอาศัยการรักษาหลายอย่างร่วมกัน ทั้งแพทย์ ทีมนักกายภาพ รวมถึงตัวคนไข้เอง โดยเฉพาะการออกกำลังกาย ทั้งการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ และการออกกำลังกายเพื่อเพื่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ จะช่วยป้องกันการกลับมาเป็นออฟฟิศซินโดรมซ้ำได้อีกในระยะยาว การรักษาโดยการใช้อุปกรณ์เสริมต่างๆ หรือการรักษาเพียงอย่างใดอย่างหนึ่ง อาจจะทำให้กลับมาเป็นซ้ำได้เร็วขึ้น นอกจากนี้ การปรับพฤติกรรมการทำงานก็เป็นสิ่งที่ช่วยได้มากในการผ่อนหนักให้เป็นเบา ต้องทำความเข้าใจก่อนว่า โดยปกติแล้วเวลาที่เรานั่ง จะมีแรงกดที่โครงสร้างต่างๆ ของกระดูกสันหลังมากกว่าในช่วงเวลาที่เรายืน เพราะฉะนั้นท่านั่งที่ดีจึงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก ในการลดแรงกดที่จะเกิดขึ้นต่อโครงสร้างต่างๆ ของหลัง ไล่ตั้งแต่กระดูกคอไปจนถึงหลัง การนั่งจะมีแรงกดของน้ำหนักต่อโครงสร้างต่างๆ ของหลังมากกว่าท่ายืน เพราะฉะนั้นสิ่งที่สำคัญก็คือ การนั่งตัวตรง หลังไม่ค่อม ไหล่ไม่ห่อ คอต้องตรง หน้าไม่ยื่น การนั่งหน้าคอมพิวเตอร์ จอคอมพิวเตอร์ต้องได้ระดับ โดยที่ขอบด้านบนควรจะอยู่ในระดับสายตา เพื่อป้องกันไม่ให้ก้มหน้ามองจอคอมพิวเตอร์ที่อยู่ต่ำจนเกินไป หากใช้โน้ตบุ๊กเป็นประจำ ควรใช้คีย์บอร์ดแยก และยกจอโน้ตบุ๊คให้อยู่ในระดับสายตา ปกติเวลาทำงานเพลินๆ เรามักจะลืมเวลา บางทีก็นานจนกระทั่งงานเสร็จ เพราะฉะนั้นเราจึงไม่สามารถนั่งให้ตัวตรง หลังไม่ค่อม ไหล่ไม่ห่อ ได้ตลอดเวลาเช่นกัน เก้าอี้นั่งทำงานที่ดี ควรจะเป็นเก้าอี้ที่มีการซัพพอร์ทหลัง (Back Support) และซัพพอร์ทคอ (Neck Support) เพื่อช่วยให้หลังและคอเรามีที่พยุง ทำให้กล้ามเนื้อไม่ทำงานหนักและล้าจนเกินไปที่สำคัญ แม้ว่าจะมีเก้าอี้ทำงานที่ดีแล้ว คนทำงานเองก็ต้องพักอิริยาบถเป็นระยะ เพื่อไม่ให้กล้ามเนื้อบริเวณที่ใช้งานล้ามากจนเกินไป ระหว่างนั่งพิมพ์งาน ควรต้องมีที่วางแขน เพื่อป้องกันไม่ให้มีแรงกดน้ำหนักเกิดขึ้นกับไหล่ ข้อมือ และข้อนิ้วที่วางแขนที่ดี ควรทำให้เวลาเรางอข้อศอกบนแป้นพิมพ์แล้วไหล่ไม่ยกขึ้น ข้อศอกงออยู่ในระดับประมาณ 90-120 องศาพอดีเวลาใช้งาน แป้นพิมพ์จะต้องอยู่ต่ำลงมานิดหน่อย เพื่อไม่ต้องยกแขนขึ้นไปพิมพ์ ซึ่งเป็นอีกวิธีหนึ่งที่จะช่วยลดโหลดที่เกิดขึ้นกับบ่าไหล่ได้ เก้าอี้นั่งทำงานควรมีความสูงอยู่ในระดับที่เหมาะสม ตรวจสอบได้จากการนั่งที่หัวเข่าจะอยู่ในระดับเดียวกับข้อสะโพก ไม่ควรให้ระดับของข้อเข่าสูงหรือต่ำกว่าข้อสะโพก เพื่อช่วยกระจายการรับน้ำหนักได้เหมาะสมข้อเท้าควรจะวางอยู่บนพื้นในระดับ 90 องศา ไม่ควรจะงอหรือว่าลอย ถ้าหากนั่งแล้วข้อเท้าลอย ควรหาเก้าอี้เล็กๆ มารองเท้าเอาไว้ เพื่อให้ไม่ตึงหรือเกร็งที่บริเวณน่อง เพื่อป้องกันไม่ให้ท่าทางในการนั่งทำงานเสียความสมดุล การจัดวางสิ่งของบนโต๊ะทำงานควรอยู่ในระยะที่หยิบจับถึง โดยไม่ต้องโน้มตัวหรือเอื้อมมือออกไปหยิบของช้ินนั้น การที่ต้องโน้มตัวหยิบสิ่งของต่างๆ บ่อยๆ จะทำให้เสียทรงท่า (posture) และการนั่งตัวตรงทำงานเป็นไปได้ยาก ถึงแม้จะจัดท่าทางอย่างดี จัดสภาพแวดล้อมต่างๆ บนโต๊ะทำงานดีแล้ว เราก็ไม่ควรจะนั่งทำงานในท่าเดิมๆ นานเกิน 2 ชั่วโมง เพราะจะทำให้กล้ามเนื้อเหนื่อยล้า ทั้งยังทำให้ความคิดสร้างสรรค์หายไปด้วย ควรจะมีการพักเปลี่ยนอิริยาบททุกๆ 30 นาที ลุกจากท่านั่ง ออกมาเดินยืดเหยียด เพื่อให้กล้ามเนื้อที่ใช้งานมาอย่างยาวนานได้พัก โดยเฉพาะกล้ามเนื้อบ่า ไหล่ ต้นคอ กล้ามเนื้อปลายแขน เป็นต้น การจัดท่าทาง การพักเบรก รวมถึงยืดเหยียดกล้ามเนื้อ จะช่วยบรรเทาอาการออฟฟิศซินโดรม และทำให้เราทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น อย่างไรก็ตาม ถ้าหากปรับท่านั่ง เปลี่ยนพฤติกรรมแล้ว พบว่าอาการยังไม่ดีขึ้น ควรจะต้องรีบพบแพทย์เพื่อประเมินการรักษา และป้องกันไม่ให้อาการออฟฟิศซินโดรมนั้นเป็นเรื้อรัง ซึ่งจะทำให้รักษายากมากขึ้น หรือใช้เวลานานกว่าจะกลับมาหายดี 1
การใช้ยาเพื่อรักษาอาการ เช่น ยาคลายกล้ามเนื้อ ยาแก้ปวดชนิดต่างๆ เป็นต้น3. ออกกำลังกายเพื่อสร้างความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่สำคัญ เช่น กล้ามเนื้อก้มคอชั้นลึก กล้ามเนื้อปลายแขน เป็นต้น อย่างไรก็ตาม การรักษาออฟฟิศซินโดรมให้ประสบความสำเร็จ มักจะต้องอาศัยการรักษาหลายอย่างร่วมกัน ทั้งแพทย์ ทีมนักกายภาพ รวมถึงตัวคนไข้เอง 1. การนั่งหน้าคอมพิวเตอร์ จอคอมพิวเตอร์ต้องได้ระดับ โดยที่ขอบด้านบนควรจะอยู่ในระดับสายตา เพื่อป้องกันไม่ให้ก้มหน้ามองจอคอมพิวเตอร์ที่อยู่ต่ำจนเกินไป2. เก้าอี้นั่งทำงานที่ดี ควรจะเป็นเก้าอี้ที่มีการซัพพอร์ทหลัง และซัพพอร์ทคอ3. เก้าอี้นั่งทำงานควรมีความสูงอยู่ในระดับที่เหมาะสม ตรวจสอบได้จากการนั่งที่หัวเข่าจะอยู่ในระดับเดียวกับข้อสะโพก4. การจัดวางสิ่งของบนโต๊ะทำงานควรอยู่ในระยะที่หยิบจับถึง โดยไม่ต้องโน้มตัวหรือเอื้อมมือออกไปหยิบของช้ินนั้น5. ไม่ควรนั่งในท่าเดิมนานเกินไป ควรจะมีการพักเปลี่ยนอิริยาบททุกๆ 30 นาที .
เมื่อพูดถึงเทรนด์การทำงานในปัจจุบัน เราคงต้องพูดถึงรูปแบบการทำงานอย่างการไปนั่งร้านกาแฟ เปิดแล็ปท็อปแล้วมองหาสัญญาณ Wi, Fi เพื่อต่ออินเทอร์เน็ตแล้วเริ่มทำงาน ทำเสร็จก็ส่งออนไลน์ ประชุมงานผ่านวีดีโอคอล และคุยงานผ่านแชท ไม่ว่าจะที่ไหนเมื่อไหร่ก็ทำงานได้ กลายเป็นที่นิยมมากขึ้นในแวดวงธุรกิจโดยเฉพาะในกลุ่มสตาร์ทอัพต้องขอบคุณเทคโนโลยีที่พัฒนาและเติบโตอย่างรวดเร็ว ทำให้พนักงานไม่จำเป็นต้องไปทำงานที่ออฟฟิศหรือสถานที่ขององค์กรอีกต่อไป ด้วยเหตุนี้ เราจึงได้ยินคำใหม่มากมายอย่าง Digital Nomad, Remote Working หรือ Work from Home ที่กลายมาเป็นทางเลือกใหม่ให้กับคนยุค 4. 0 ได้ใช้ประกอบการตัดสินใจเลือกงานหรือบริษัทในตอนนี้ แต่ก่อนที่คุณจะตัดสินใจ เรามาทำความเข้าใจเทรนด์นี้พร้อมข้อดีและข้อเสียของมันกันก่อน คำถามนี้น่าจะเป็นคำถามที่หลายๆคนกำลังสงสัยและมองหาเป็นตัวเลือกกันอยู่ โดยเฉพาะฟรีแลนซ์ เจ้าของธุรกิจออนไลน์ และคนที่เลือกทำงานอิสระ เพื่อพิจารณาว่าสถานที่นั้นตรงกับความชอบของคุณหรือไม่? เหมาะแก่การไปนั่งทำงานไหม? และมีค่าใช้จ่ายเท่าไหร่? ลองมาดูกันดีกว่า ว่ามีตัวเลือกอะไรบ้างที่สามารถทำงานได้และแตกต่างกันอย่างไรในเบื้องต้นการทำงานที่บ้านถือเป็นตัวเลือกที่ดีเพราะไม่มีทั้งค่าเดินทางและค่าใช้สถานที่ใดๆ รวมถึงสภาพแวดล้อมที่คุ้นเคย แต่ในบางครั้งก็เป็นปัญหาสำหรับการรวบรวมสมาธิเช่น สวนสาธารณะหรือห้องสมุดก็เป็นหนึ่งตัวเลือกที่หลายคนสนใจ ด้วยบรรยากาศที่สบาย ๆ มีคนหลากหลายมาใช้พื้นที่หลายแบบ และมักจะฟรี หรือมีค่าเข้าไม่แพง แต่มักจะไม่มีสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับการทำงาน หลาย ๆ ร้านในปัจจุบันเปิดเพื่อรองรับให้คนมานั่งทำงานโดยมีบริการให้ทั้ง Wi, Fi ปลั๊กไฟ และโต๊ะสูงระดับตั้งคอมพิวเตอร์ โดยที่คนทำงานต้องซื้อเครื่องดื่มของทางร้าน บางที่อาจจะกำหนดจำนวนชั่วโมงที่นั่งได้ต่อแก้วเป็นสถานที่ที่ออกแบบมาเพื่อตอบโจทย์คนที่อยากออกมานั่งทำงานนอกบ้าน เพราะมีทั้งอุปกรณ์สำนักงาน โต๊ะ เก้าอี้ และเครื่องเขียน และมีบริการให้เช่าห้องประชุมทั้งขนาดเล็กและใหญ่ เช่นบริการของ
HUBBA ที่มีพื้นที่หลากหลายให้เลือกใช้บริการและสะดวกสบาย โดยปกติมักคิดค่าบริการตั้งแต่รายชั่วโมง รายวัน ไปจนถึงการสมัครสมาชิกรายเดือน เมื่อรู้จักสถานที่ทำงานต่างๆแล้ว อีกหนึ่งคำถามที่น่าสนใจคือ การทำงานนอกออฟฟิศแบบนี้มันมีข้อดี ข้อเสียยังไงบ้างล่ะ? ไม่ว่าจะเดินทางด้วยรถยนต์ส่วนตัว หรือรถสาธารณะอย่างรถเมล์หรือรถไฟฟ้า เราก็ปฏิเสธกันไม่ได้อยู่ดีว่าการเดินทางไปที่ทำงานนั้นเสียเวลาเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะในเมืองอย่างกรุงเทพที่ติดอันดับรถติดอยู่ทุกปี การทำงานนอกที่ทำงานจึงเข้ามาแก้ปัญหานี้ได้โดยตรง เพราะคุณไม่ต้องรีบเดินทางไปทำงานในตอนเช้าเพื่อสแกนนิ้วหรือตอกบัตรอีกต่อไป ถือเป็นการประหยัดทั้งเวลาและค่าเดินทาง รวมถึงเป็นการลดความเครียดจากการเดินทางอีกด้วยลองนึกง่าย ๆ เช่น ช่วงเวลาตอนเช้าวันจันทร์หรือวันศุกร์สิ้นปีที่รถติดมากกว่าปกติ หลายคนที่เดินทางไปทำงานก็มักจะหงุดหงิด และมีความเครียดโดยไม่รู้ตัวก็เป็นได้ ดังนั้นการทำงานนอกออฟฟิศจึงเหมาะกับไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่หรือผู้ประกอบการธุรกิจมากกว่าการทำงานแบบเดิมที่ยึดติดกับการเข้าออฟฟิศตลอดทุกวัน จุดเด่นที่สุดของการทำงานนอกสถานที่ซึ่งแตกต่างกับการทำงานในออฟฟิศอย่างชัดเจนคือ ความอิสระในการทำงาน ซึ่งหมายถึง การเลือกสถานที่ทำงานเองได้ ไม่ว่าจะเป็นร้านกาแฟใกล้บ้าน หรือ Coworking space ติดรถไฟฟ้า เลือกเวลาในการทำงานได้โดยไม่ต้องรีบร้อนหากมีนัดหรือลาป่วยอะไร เลือกว่าจะแต่งตัวยังไงให้สบายโดยไม่ต้องเป็นชุดทำงานทางการก็ได้ รวมถึงเลือกสภาพแวดล้อมที่ทำให้ผ่อนคลายมากที่สุดนอกจากนี้เรายังสามารถจัดสรรตารางเวลาของตัวเองได้ 100% ทำให้มี Work-Life Balance (สมดุลชีวิต) ที่จัดการได้มากขึ้น โดยมีหลักฐานเพิ่มเติมจากงานวิจัยที่ระบุว่าการให้โอกาสพนักงานทำงานนอกสถานที่ได้ และตารางงานที่ยืดหยุ่นส่งผลต่อการตัดสินใจทำงานหรือลาออกของพนักงานอีกด้วยนอกจากความสะดวกในการจัดสรรเวลาเองได้ พนักงานยังสามารถเลือกทำงานตอนที่อยากทำ รู้สึกพร้อมมากที่สุด และทำงานออกมาได้ประสิทธิภาพมากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นช่วงเช้าหลังตื่นนอนที่สมองแล่นและไม่ง่วง หรือตอนกลางคืนก่อนนอนที่รู้สึกผ่อนคลาย คุณก็สามารถเริ่มทำงานในเวลานั้นได้ ถ้าคุณส่งงานได้ตรงเวลา โดยไม่มีใครมาบังคับ นอกจากนี้การทดลองจาก ในอเมริกายังค้นพบอีกว่า การทำงานนอกสถานที่ทำให้พนักงานมีประสิทธิภาพในการทำงานที่ดีขึ้น เชื่อว่าหลายคนคงเคยเจอปัญหาในที่ทำงานอย่างความกดดันจากหัวหน้างานที่นั่งอยู่ไม่ไกลโต๊ะของคุณ เสียงคุยและเสียงรบกวนดังในที่ทำงานที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ การเดินไปเดินมาตลอดเวลาของเพื่อนร่วมงาน และบรรยากาศในการทำงานที่ตึงเครียด แน่นอนว่ามันรบกวนสมาธิในการทำงาน ทำให้คุณโฟกัสงานได้ลดลง และมีความเครียดได้ง่ายพอ
โต๊ะทำงานกลุ่ม 6ที่นั่ง ๆ กับภาระงานที่มีเช่นกัน การทำงานนอกออฟฟิศจึงช่วยกำจัดปัญหาเหล่านี้ ทำให้คุณโฟกัสและมีสมาธิกับงานได้เต็มที่ โดยไม่มีความเครียดและสิ่งรบกวนภายนอกที่ควบคุมไม่ได้อีกต่อไป การทำงานนอกออฟฟิศช่วยลดค่าใช้จ่ายของพนักงานหรือลูกจ้างโดยตรง เพราะไม่ต้องจ่ายค่าเดินทางที่อาจจะยิ่งแพงในชั่วโมงเร่งรีบ รวมถึงค่าอาหารกลางวัน ซึ่งมักมีราคาแพงกว่าปกติในย่านธุรกิจ และในมุมของเจ้าของธุรกิจที่ต้องเช่าหรือสร้างออฟฟิศ การอนุญาตให้พนักงานทำงานข้างนอก ไม่ว่าจะยกเว้นแค่บางวันหรือไม่มีออฟฟิศเลย ก็ช่วยลดต้นทุนค่าสิ่งของอำนวยความสะดวก ค่าไฟ และอุปกรณ์สำนักงานต่าง ๆ ซึ่งเป็นต้นทุนก้อนใหญ่ในการเริ่มต้นธุรกิจเช่นกัน หนึ่งในปัจจัยสำคัญที่ช่วยกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์คือ สภาพแวดล้อมรอบตัวในที่ทำงาน ซึ่งมักจะถูกออกแบบตามบริษัทโดยที่พนักงานไม่มีสิทธิเลือกหรือจัดการใด ๆ นอกจากบริเวณโต๊ะประจำของตัวเองเท่านั้น ปัญหาที่เกิดขึ้นคือ บางสภาวะนั้นไม่เอื้อต่อการคิดนอกกรอบ แม้ว่าหลายๆบริษัทจะเริ่มออกแบบห้องทำงานเป็น ออฟฟิศเป็นเปิด (open office) ที่ไม่มีฉากกั้นแต่ละคน หรือใส่ต้นไม้ให้ดูสบายตา แต่ยังไงการทำงานนอกออฟฟิศก็อาจเป็นตัวเลือกที่ดีกว่า เพราะคุณสามารถเลือกนั่งทำงานในสถานที่ที่คุณชอบและไม่น่าเบื่อได้ ออกแบบโต๊ะหรือสิ่งของรอบตัวที่เหมาะกับการคิดงาน รวมถึงรู้สึกสบายใจในการทำงานส่วนตัว ส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์เป็นอย่างมาก ถึงแม้ว่าเทคโนโลยีจะทำให้คุณสามารถสื่อสารกับคนในทีม หัวหน้าและลูกค้าได้อย่างสะดวกสบาย แต่การนั่งทำงานคนเดียวก็หมายถึงการมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อน ๆ ที่ลดลง ไม่ได้ทานข้าวหรือกาแฟด้วยกัน ไม่ได้แลกเปลี่ยนความคิดในช่วงเวลาพักหรือคุยเล่นกันมากเท่าที่ควร ทำให้ฟรีแลนซ์และคนทำงานอิสระส่วนใหญ่มักจะรู้สึกเหงาและโดดเดี่ยว จำโมเมนต์ที่คุณยืนคุยงานกับเพื่อนระหว่างลงลิฟต์หรือปรึกษาสั้น ๆ ตอนกินข้าว นี่คือประโยชน์ของการทำงานในออฟฟิศ ซึ่งช่วยเพิ่มความสนิทสนมกับคนในทีม เรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร และเข้าสังคมกับเพื่อนร่วมงาน เพราะบางกรณีช่องทางในการสื่อสารออนไลน์ก็ยังมีข้อจำกัด ทำให้งานเกิดความผิดพลาดได้ง่ายจากการสื่อสารที่ผิดพลาดดังนั้นการสื่อสารแบบพบหน้ากัน (Face to Face) จึงยังคงจำเป็น เช่น การหันไปถามเพื่อนที่นั่งอยู่ข้าง ๆ เมื่อคุณไม่เข้าใจ ก็ทำให้การทำงานของคุณง่ายขึ้น นอกจากนี้การทำงานนอกออฟฟิศยังส่งผลให้คุณไม่รู้สึกผูกพันกับองค์กรด้วย ปัญหาที่มักส่งผลระยะยาวต่อสุขภาพการทำงานคือ เส้นแบ่งระหว่างเวลาการทำงานกับเวลาส่วนตัว ถ้าคุณตื่นมาแล้วนั่งทำงานบนโต๊ะใกล้ ๆ เตียง หรือทำงานช่วงเวลาก่อนนอน การตัดสินใจปิดคอมก็ยากกว่าการทำงานที่ออฟฟิศ และการทำงานนอกออฟฟิศก็ไม่ได้แปลว่าคุณต้องว่าง รอตอบงาน หรือทำงานตลอด 24 ชั่วโมงจนไม่มีเวลาชีวิตให้ตัวเอง ซึ่งในบางทีการทำงานแบบไม่มีกำหนดเวลาแบบนี้ก็ยากต่อการแยกชีวิตส่วนตัวออกจากการทำงาน ทำให้คุณทำงานมากเกินไป เกิดความเครียด และหมดไฟในการทำงานได้ง่าย ๆ ถ้าคุณเลือกจะทำงานที่บ้าน สิ่งรบกวนสมาธิที่สำคัญคงหนีไม่พ้นเตียงข้างกาย หรือ Netflix ที่ดูค้างไว้บนทีวี เพราะการทำงานนอกออฟฟิศต้องใช้ความรับผิดชอบและความตั้งใจจากตัวเองสูง เมื่อคนรอบตัวของคุณไม่ได้ทำงานไปพร้อมกัน การบังคับตัวเองให้นั่งทำงานจึงอาจจะยากกว่าปกติ อาจจะขาดแรงจูงใจและแรงกระตุ้นในการทำงาน ดังนั้นความแตกต่างของสไตล์การทำงานนอกกับในออฟฟิศก็คือ สิ่งรบกวนคนละแบบที่ทำให้คุณว้าวุ่นใจ หรือขาดสมาธิ ทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานของคุณลดลงได้ แม้ว่าการทำงานนอกสถานที่จะมีข้อดีมากมายที่ทำให้คุณมีอิสระในการทำงาน มีประสิทธิภาพและมีสมาธิสูงขึ้น แต่ก็ย่อมมีข้อเสียตามมา เพราะไม่ใช่ทุกอาชีพที่เหมาะกับการทำงานนอกสถานที่ ลองนึกถึงงานสายวิศวกรรมที่ต้องทำภายในโรงงาน หรืองานบริการที่ต้องประจำอยู่หน้างานเสมอ การทำงานนอกออฟฟิศก็ยังมีข้อจำกัดและอาจส่งผลต่อประสิทธิภาพการทำงานโดยตรงทว่าในปัจจุบัน หลายบริษัทก็เริ่มเปิดโอกาสให้พนักงานทำงานนอกออฟฟิศ เช่นการเช่า Coworking Space ให้พนักงานมาใช้ได้ตามสะดวก การใช้ Coworking Space เป็นที่ประชุมงานหรือจัดสัมมนาโดยการเช่าห้องประชุม รวมถึงบริษัทที่ใช้ Coworking Space เป็นออฟฟิศถาวรไปเลย โดยเช่าห้องระยะยาวแล้วจดทะเบียนเป็นบริษัทในรูปแบบ ซึ่งถือเป็นตัวเลือกที่ดีสำหรับการทำงานในสภาพแวดล้อมที่มีอิสระ แต่ก็มีออฟฟิศเป็นของตัวเอง โดยที่ HUBBA เราให้บริการตั้งแต่พื้นที่ทำงาน อุปกรณ์ ห้องประชุมที่หลากหลาย และพื้นที่ที่สนับสนุนการแลกเปลี่ยนความคิดและโอกาสในการสร้างคอนเนคชั่นใหม่กับเจ้าของธุรกิจอื่นๆ พร้อมบริการที่ครบครัน กดเพิ่ม HUBBA เป็นเพื่อน เพื่อติดตามข่าวสารและร่วมสนุกกิจกรรมอื่นๆ ได้แล้วที่ไลน์แอด @hubbathailand.
คู่มือขั้นสูงสุดสำหรับ โต๊ะทำงานกลุ่ม
โต๊ะทำงานกลุ่ม 2ที่นั่ง3 เหตุผลที่ไม่ควรใช้โต๊ะอย่างอื่นแทนโต๊ะนักเรียน การศึกษาเป็นสิ่งที่มีความสำคัญของชาติ เพราะเป็นการวางรากฐานที่สำคัญของการพัฒนาประเทศชาติโดยเริ่มจากเด็กนักเรียน ดังคำกล่าวที่ว่า “รากฐานของตึก คือ อิฐ รากฐานชีวิต คือ การศึกษา” การศึกษาจึงเป็นการลงทุนที่จะได้รับผลดีตอบแทนกลับมา แต่ในบางครั้งโรงเรียนบางแห่งกลับมองข้ามและไม่ใส่ใจแม้บางเรื่องดูเหมือนจะเป็นสิ่งเล็กน้อยที่ถูกมองข้ามไป อย่างเช่น โต๊ะนักเรียน ซึ่งมีความสำคัญกับการศึกษาอย่างมาก ทั้งในแง่ของประโยชน์ใช้สอยและความปลอดภัย โรงเรียนบางแห่งกลับใช้โต๊ะอย่างอื่นมาใช้แทนเนื่องจากต้องการประหยัดงบประมาณ ดังนั้นบทความนี้ ขอกล่าวถึง 3 เหตุผลที่ไม่ควรใช้โต๊ะอย่างอื่นแทน โต๊ะนักเรียน มีดังต่อไปนี้ ความปลอดภัยเป็นสิ่งที่สำคัญที่เราไม่ควรมองข้ามไป เพราะโต๊ะทั่วไปไม่ได้ออกแบบมาโดยเฉพาะ ซึ่งอาจจะมีโครงสร้างของโต๊ะที่ไม่แข็งแรงทนทานมากพอ อาจจะชำรุดได้ง่ายเวลาที่นำมาใช้งานจริง ซึ่งจะเป็นอันตรายสำหรับเด็กนักเรียนได้ นอกจากนี้โต๊ะทั่วไปจะมีน้ำหนักที่ไม่เหมาะสมที่จะมาทำเป็นโต๊ะเรียน เนื่องจากอาจจะมีน้ำหนักที่มากเกินไปหรือมีน้ำหนักที่เบาเกินไป ซึ่งจะมีผลต่อความปลอดภัยในการใช้งานให้ห้องเรียนได้ โต๊ะและเก้าอี้นักเรียนควรนั่งได้อย่างสะดวกบาย มีความสูงที่พอดีกับช่วงวัยของเด็กนักเรียนในแต่ละระดับการศึกษา ทำให้สามารถอ่านเขียนได้อย่างสะดวกสบาย และมีลิ้นชักเพื่อใช้ใส่ของใช้และอุปกรณ์การเรียนต่าง ๆ ทำให้สะดวกสำหรับนักเรียน รวมถึงโต๊ะยังออกแบบมาเพื่อเคลื่อนย้ายและเก็บได้อย่างสะดวกด้วย ดังนั้นหากใช้โต๊ะทั่วไปซึ่งไม่ได้ออกแบบมารองรับการใช้งานด้านนี้เหมือนกับ โต๊ะนักเรียน โดยเฉพาะ และไม่เหมาะสมกับช่วงวัยของเด็กนักเรียน ทำให้เคลื่อนย้ายลำบากและอาจจะไม่มีความปลอดภัยสำหรับเด็กนักเรียนได้ โต๊ะอย่างอื่นที่ใช้งานทั่วไป เวลานำมาใช้ในห้องเรียนจะทำให้ดูแล้วไม่มีความสวยงาม ไม่เป็นระบบระเบียบ ซึ่งความเป็นระเบียบสวยงามของโต๊ะและเก้าอี้นักเรียนจะช่วยส่งเสริมการเรียนในห้องเรียน ทำให้น่าเรียนมากขึ้น โต๊ะนักเรียน ที่ถูกออกแบบมาอย่างดี จะมีขนาดที่ได้มาตรฐานเดียวกัน เมื่อนำมาเรียงต่อกันเป็นโต๊ะใหญ่เพื่อทำงานกลุ่มหรือมีกิจกรรมร่วมกันก็จะสามารถทำได้ง่ายกว่า เวลาจัดเก็บเข้ามุมเพื่อเคลียร์พื้นที่โล่งในห้องเรียนเพื่อทำกิจกรรมการเรียนการสอนก็ทำได้ง่าย เพราะมีขนาดเท่า ๆ กัน จึงวางซ้อนและจัดชิดได้พอดีกัน ทั้งหมดนี้ที่กล่าวมาข้างต้นเป็นเพียง 3 เหตุผลที่เรายกมาเป็นตัวอย่างเท่านั้น โต๊ะนักเรียน ที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานโดยเฉพาะย่อมจะดีกว่าการใช้โต๊ะอย่างอื่นมาแทนที่ ดังนั้นจึงไม่ควรใช้โต๊ะอย่างอื่นมาแทนเพราะเพียงแค่ต้องการประหยัดงบประมาณเท่านั้น หากได้พิจารณาอย่างไตร่ตรองแล้วเราจะเห็นว่าโต๊ะนักเรียนมีราคาที่เหมาะสมกับคุณภาพ ดังนั้นควรที่จะลงทุนเพื่อการศึกษา เพราะจะได้ผลตอบแทนที่คุ้มค่ามากกว่าในอนาคต .
แม่บอกเสมอว่าให้เปิดไฟทำงาน แต่โตขึ้นก็ไม่ทำตามแม่แล้วครับ แต่ละโพสห้องมืดๆ ปิดม่านทึบๆ ให้ไฟจากโคมไฟและไฟจากอุปกรณ์ต่างๆ ที่มีไฟ RGB ช่วยเสริมอารมณ์การทำงานยิ่งขึ้น เราขอแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ๆ ครับอย่างแรก ไฟจากอุปกรณ์ ส่วนมากจะมาจาก เมาส์ คีย์บอร์ด แผ่นรองเมาส์ หูฟัง รวมไปถึง
เคสคอมพิวเตอร์แบบใสที่มีไฟ RGB จากอุปกรณ์ภายในก็ทำให้ห้องสวยยิ่งขึ้น นอกจากเกมเมอร์ที่ชอบทำแบบนี้ ก็มีอีกไม่น้อยเลยครับที่ชอบห้องที่มืดแต่อาศัยไฟจากอุปกรณ์เหล่านี้แทนเพื่อให้ได้ไฟเพียงพอต่อการทำงานอย่างที่สอง ไฟจาก จะเห็นได้ว่ามีไฟสว่างจากขอบโต๊ะ หรือหลัง
จอคอม ส่วนมากจะเป็นไฟเส้นที่มาติดตั้งเพิ่มเติมครับ บางรุ่นอาจปรับได้ไม่มาก แต่บางตัวเองมีกล่องควบคุมแยก เชื่อมต่อเข้ากับสมาร์ทโฟนและปรับไฟได้ตามการใช้งาน ทั้งระดับความสว่าง สีไฟต่างๆ หรือไฟเส้นบางตัวก็ปรับสีไฟได้เองตามเพลงที่เล่นครับ ถ้าได้ลองใช้จะบอกว่าสนุกมากจริงๆ